ผู้ติดตาม

วันศุกร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ส.ค.ส. พระราชทาน ๒๕๕๔


วันพฤหัสบดีที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ก้านไม้ขีดไฟเคลื่อนที่ได้


ก้านไม้ขีดไฟเคลื่อนที่ได้

เป้าหมาย


      ก้านไม้ขีดไฟเคลื่อนที่ได้อย่างไร

เครื่องไม้เครื่องมือ


    1. ไม้ขีดไฟ 1 ก้าน
    2. เหรียญ 1 เหรียญ
    3. ช้อน 1 คัน
แสดงฝีมือหน่อยซิ


ป้ายเตือนทางรังสี



วัสดุกัมมันตรังสีจัดเป็นวัตถุอันตรายประเภทหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะแตกต่างจากวัสดุประเภทสารเคมีหรือวัสดุอันตรายประเภทอื่นคือไม่มีสี ไม่มีกลิ่น จึงไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตา การตรวจสอบจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์เฉพาะในการตรวจสอบ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีสัญลักษณ์หรือป้ายเตือนติดไว้ที่ตัววัสดุกัมมันตรังสีหรือบริเวณที่มีการใช้งานวัสดุกัมมันตรังสี เพื่อป้องกันอันตรายทีเกิดขึ้นกับประชาชน โดยทั่วไปเราสามารถจำแนกป้ายเตือนทางรังสีตามลักษณะการใช้งานออกเป็น



  • ป้ายเตือนที่ติดอยู่กับวัสดุกัมมันตรังสี

มีดาวเคราะห์น้อยที่ชื่อเป็นภาษาไทยด้วย







ดาวเคราะห์น้อยเป็นวัตถุชนิดที่มีอยู่เป็นจำนวนมากในระบบสุริยะ ปัจจุบันมีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยแล้วมากกว่า 4 แสนดวง ในจำนวนนี้มีดาวเคราะห์น้อยอยู่ 6 ดวง ที่ได้รับการตั้งชื่อเรียกขานตามชื่อสกุลของเยาวชนไทยที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ในงาน Intel International Science and Engineering Fair (ISEF) ประจำปี 2006 และ 2007

ตามขั้นตอนในปัจจุบัน เมื่อมีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยดวงใหม่ที่ตรวจสอบแล้วว่าไม่ตรงกับดาวเคราะห์น้อยดวงอื่นที่เคยพบมาก่อนหน้านั้น มันจะได้ชื่อชั่วคราวซึ่งบ่งบอกปีและช่วงเวลาที่ค้นพบ ตัวเลข 4 ตัวแรกบอกปี ค.ศ. ตามด้วยตัวอักษร เช่น A หมายถึง ค้นพบในช่วงวันที่ 115 ม.ค., B หมายถึงค้นพบในช่วงวันที่ 1631 ม.ค., C หมายถึง ค้นพบในช่วงวันที่ 115 ก.พ.โดยละตัวอักษร I และ Z ไว้

อักษรที่ตามหลังมาอีก 1 ตัว จะบ่งบอกลำดับของการค้นพบภายในครึ่งเดือนนั้น เริ่มจาก A ถึง Z ยกเว้นตัว I จึงมีอักษร 25 ตัว ที่ใช้สำหรับดาวเคราะห์น้อย 25 ดวงแรกที่ค้นพบในครึ่งเดือนนั้น ดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่พบในครึ่งแรกของเดือน เม.ย.ปีนี้ จึงมีชื่อชั่วคราวว่า 2009 GA เป็นต้น หากมีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยมากกว่า 25 ดวง ดาวเคราะห์น้อยดวงที่ 26 จะถือว่านำตัวอักษร A มาใช้อีกครั้ง จึงมีตัวเลขต่อท้ายห้อยไว้ เช่น 2009 GA1 (ปกติตัวเลขจะเป็นตัวห้อย แต่ก็พบบ่อยว่าเขียนเป็นตัวปกติ) ถัดไปคือ 2009 GB1, 2009 GC1, 2009 GZ1 ดาวเคราะห์น้อยดวงที่ 51 คือ 2009 GA2 เป็นต้น
วันจันทร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

115 ปี “เอ็กซเรย์” จากดูกระดูกถึงดูดาว

เศษ ซากซูเปอร์โนวา E0102-72 ซึ่งบันทึกด้วยข้อมูลย่านรังสีเอกซ์จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา (Chandra) และคลื่นแสงที่ตามองเห็นจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (NASA)
       จากรังสีปริศนาที่ น่าฉงน ซึ่งถูกค้นพบเมื่อ 115 ปีก่อน ปัจจุบัน “รังสีเอกซ์” ทะลุทะลวงสู่การประยุกต์ใช้งานที่หลากหลาย ตั้งแต่การวินิจฉัยโรคทางการแพทย์ การตรวจสอบในภาคอุตสาหกรรม ไปจนถึงการศึกษาดวงดาวบนท้องฟ้า
    
       เมื่อวันที่ 8 พ.ย.1985 วิลเฮห์ม คอนราด เรินท์เกน (Wilhelm Conrad Roentgen) นักฟิสิกส์เยอรมันพบรังสีเอกซ์โดยบังเอิญระหว่างทำการทดลองให้ประจุวิ่งผ่าน ท่อสุญญากาศ ซึ่งเขาได้พบการเรืองแสงที่แปลกประหลาด และเขาเรียกการเรืองแสงประหลาดนั้นว่า “รังสีเอกซ์” (X ray) ที่สื่อถึงการแผ่รังสีอันลึกลับ อีกทั้งเขาได้ใช้รังสีที่ไม่รู้จักนี้ บันทึกภาพมือของภรรยาเขาเอง ภาพนั้นเผยให้โครงกระดูกของมือ และหัวแหวนทึบๆ ที่นิ้วนาง

วันพฤหัสบดีที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2553

เครื่องเปลี่ยน"ขยะพลาสติก"เป็น"น้ำมัน"

ปัญหาใหญ่ของโลกที่หลายคนอาจจะนึกไม่ถึงนั่นก็คือ การรีไซเคิลขยะ"พลาสติก" ซึ่งส่วนใหญ่จะรีไซเคิลได้แค่"ขวดพลาสติก" ในขณะที่ขยะพลาสติกในรูปแบบอื่นๆ ยังมีอีกมากมาย นักพัฒนาในญี่ปุ่นที่เล็งเห็นถึงปัญหานี้ได้สร้างเครื่องเปลี่ยน"ขยะพลาสติก"ทุกชนิดให้เป็น"น้ำมัน"ได้แล้ว โดยเจ้าเครื่องที่ว่านี้ไม่เพียงแต่จะมีขนาดเล็กจนสามารถตั้งบนโต๊ะได้เท่านั้น แต่มันยังลดการสร้างคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศที่เป็นต้นเหตุของโลกร้อนได้อีกด้วย




   
วันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2553

"กิริ" ไซโคลนระดับ 5 เผยนัยน์ตาชั่วร้าย หวั่นส่งคลื่นกวาดคนแบบ "นาร์กิส"






ภาพถ่ายดาวเทียม METEO-7 เวลาบ่ายวันศุกร์ (22 ต.ค.) เผยให้เห็นนัยน์ตาเล็กแหลม น่าสะพรึงกลัวของไซโคลนกิริ ที่เร่งความเร็วเป็นพายุระดับ 5 "ซูเปอร์ไซโคลน" ขณะเคลื่อนเข้าสู่เขตอุตสาหกรรมก๊าซนอกชายฝั่งใหญ่ที่สุดของพม่าในบ่ายวันศุกร์ (22 ต.ค.) ยังไม่ทราบชะตากรรมของผู้คนที่อยู่บนทางผ่าน ในขณะนี้
     
        ไซโคลนกิริ (Giri) ได้ทวีความเร็วขึ้นเป็นระดับ 5 (Category 5) ในวันศุกร์ (22 ต.ค.) นี้ ท่ามกลางเสียงเตือนจากหลายฝ่ายให้ระวังคลื่นสูงถาโถมขึ้นกวาดสรรพสิ่งใกล้ชายฝั่งให้ตกทะเล แบบเดียวกับพายุนาร์กิส (Nargis) ที่กวาดผู้คนนับหมื่นหายไปจากทั้งเมืองในชั่วพริบตาในต้นเดือน พ.ค.2551